puen7799 on Nostr: สวัสดีครับ #siamstr ...
สวัสดีครับ #siamstr วันนี้มีบทความน่าสนใจมากให้อ่าน จากคุณ Garadriel ในX
ถ้าความเข้าใจผม บิทคอย เป็น บัฟเฟอร์ให้ดอลล่า ที่เพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ
….
อีกไม่กี่วันข้างหน้า หลังจากทรัมพ์รับตำแหน่ง ปธน. คนต่อไปของสหรัฐอเมริกา อาจจะมีการอนุมัติ Bitcoin Strategy Reserve ออกมา ทำให้นึกถึงทฤษฎีหนึ่งที่เริ่มได้รับความสนใจมากขึ้นว่า Bitcoin อาจเป็น “โครงการที่รัฐบาลสนับสนุน” เพื่อตอบสนองเป้าหมายทางเศรษฐกิจและการเงินของสหรัฐฯ โดยเฉพาะการปกป้องเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) และพันธบัตรรัฐบาล (UST)
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดนี้สามารถพบได้ในเอกสารของธนาคารเพื่อการชำระหนี้ระหว่างประเทศ (Bank for International Settlements หรือ BIS) ฉบับที่ 141 ซึ่งอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง Bitcoin และระบบการเงินโลก ไว้อย่างละเอียด ซึ่งทาง BIS วิเคราะห์ว่า
Bitcoin อาจถูกใช้ในฐานะ “กลยุทธ์หลอกล่อสภาพคล่อง” (non-inflationary liquidity decoy) โดยเบี่ยงเบนเม็ดเงินที่อาจเข้าสู่สินทรัพย์สำคัญ เช่น ทองคำ เงิน และสินค้าโภคภัณฑ์ (อาหารและพลังงาน) ซึ่งหากสภาพคล่องไหลเข้าสู่สินทรัพย์เหล่านี้มากเกินไป จะทำให้เกิดผลกระทบดังนี้
1.เพิ่มแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ
การเพิ่มขึ้นของราคาอาหารและโลหะมีค่าจะส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น ซึ่งจะสร้างความกังวลต่อเศรษฐกิจและส่งผลต่อเสถียรภาพทางการเงิน
2.เพิ่มต้นทุนทางการเงินของรัฐบาลและธนาคารกลาง
เมื่อเงินเฟ้อสูงขึ้น Fed อาจต้องใช้นโยบายที่เข้มงวด เช่น การเพิ่มอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมของรัฐบาลเพิ่มขึ้น ภาระดอกเบี้ยจากหนี้สาธารณะเพิ่มสูงขึ้น และทสำคัญFed จะได้รับผลกระทบ เช่น ต้นทุนการจ่ายดอกเบี้ยเงินฝากสำรอง หรือ IORB สูงขึ้น
3.ลดความเชื่อมั่นในระบบการเงินเดิม
หากเงินเฟ้อพุ่งสูงและกระทบต่อเศรษฐกิจ จะลดความเชื่อมั่นในเงินดอลลาร์และพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นรากฐานของระบบการเงินโลก
หากทฤษฎีนี้เป็นจริง Bitcoin อาจไม่ได้เป็นเพียงสินทรัพย์ดิจิทัลที่ถูกขับเคลื่อนโดยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็น “เครื่องมือเชิงกลยุทธ์” ที่รัฐบาลและธนาคารกลางใช้เพื่อจัดการกับปัญหาเงินเฟ้อและรักษาความมั่นคงของระบบการเงินโลก
Published at
2025-01-06 02:55:54Event JSON
{
"id": "e3ac975473d423282e39df63e93a07d47cab63b0d3624ed5dfbfdf9f141cdefd",
"pubkey": "316d86c87e520074fe80605342e91ddaa6721f49386d642b8a8d4ef1486234ba",
"created_at": 1736132154,
"kind": 1,
"tags": [
[
"t",
"siamstr"
]
],
"content": "สวัสดีครับ #siamstr วันนี้มีบทความน่าสนใจมากให้อ่าน จากคุณ Garadriel ในX\n\nถ้าความเข้าใจผม บิทคอย เป็น บัฟเฟอร์ให้ดอลล่า ที่เพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ \n….\n\nอีกไม่กี่วันข้างหน้า หลังจากทรัมพ์รับตำแหน่ง ปธน. คนต่อไปของสหรัฐอเมริกา อาจจะมีการอนุมัติ Bitcoin Strategy Reserve ออกมา ทำให้นึกถึงทฤษฎีหนึ่งที่เริ่มได้รับความสนใจมากขึ้นว่า Bitcoin อาจเป็น “โครงการที่รัฐบาลสนับสนุน” เพื่อตอบสนองเป้าหมายทางเศรษฐกิจและการเงินของสหรัฐฯ โดยเฉพาะการปกป้องเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) และพันธบัตรรัฐบาล (UST)\n\nข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดนี้สามารถพบได้ในเอกสารของธนาคารเพื่อการชำระหนี้ระหว่างประเทศ (Bank for International Settlements หรือ BIS) ฉบับที่ 141 ซึ่งอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง Bitcoin และระบบการเงินโลก ไว้อย่างละเอียด ซึ่งทาง BIS วิเคราะห์ว่า\nBitcoin อาจถูกใช้ในฐานะ “กลยุทธ์หลอกล่อสภาพคล่อง” (non-inflationary liquidity decoy) โดยเบี่ยงเบนเม็ดเงินที่อาจเข้าสู่สินทรัพย์สำคัญ เช่น ทองคำ เงิน และสินค้าโภคภัณฑ์ (อาหารและพลังงาน) ซึ่งหากสภาพคล่องไหลเข้าสู่สินทรัพย์เหล่านี้มากเกินไป จะทำให้เกิดผลกระทบดังนี้\n\n1.เพิ่มแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ\n\nการเพิ่มขึ้นของราคาอาหารและโลหะมีค่าจะส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น ซึ่งจะสร้างความกังวลต่อเศรษฐกิจและส่งผลต่อเสถียรภาพทางการเงิน\n\n2.เพิ่มต้นทุนทางการเงินของรัฐบาลและธนาคารกลาง\n\nเมื่อเงินเฟ้อสูงขึ้น Fed อาจต้องใช้นโยบายที่เข้มงวด เช่น การเพิ่มอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมของรัฐบาลเพิ่มขึ้น ภาระดอกเบี้ยจากหนี้สาธารณะเพิ่มสูงขึ้น และทสำคัญFed จะได้รับผลกระทบ เช่น ต้นทุนการจ่ายดอกเบี้ยเงินฝากสำรอง หรือ IORB สูงขึ้น\n\n3.ลดความเชื่อมั่นในระบบการเงินเดิม\nหากเงินเฟ้อพุ่งสูงและกระทบต่อเศรษฐกิจ จะลดความเชื่อมั่นในเงินดอลลาร์และพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นรากฐานของระบบการเงินโลก\n\nหากทฤษฎีนี้เป็นจริง Bitcoin อาจไม่ได้เป็นเพียงสินทรัพย์ดิจิทัลที่ถูกขับเคลื่อนโดยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็น “เครื่องมือเชิงกลยุทธ์” ที่รัฐบาลและธนาคารกลางใช้เพื่อจัดการกับปัญหาเงินเฟ้อและรักษาความมั่นคงของระบบการเงินโลก",
"sig": "d8b2bdeafbcc12b36843d7ed1af63f5818bb263c9b32eb807937428055b246356d7fdcc745b9dafdc31512e0966b03f0799eea1bd1f4fa424a19400bd4002d22"
}