lord_voldemort on Nostr: ...
*โพสต์นี้เป็นฉบับสมบูรณ์จากในเฟซ*
*มีย่อยไปบ้างแต่อยากให้อ่านจนครบแล้วแยกประเด็นไปทีละข้อนะครับ*
*********************************
"เงินสดคือหนี้"
ตัวเรามองเห็นปัญหาที่คนส่วนใหญ่งงกันมีดังนี้
1.นิยามไม่ตรงกัน (definition) บางคนหยิบนิยามตามบัญชี นิยามตามเศรษฐศาสตร์การเงินกระแสหลัก (ไม่ใช่ออสเตรียน) นิยามตามกฎหมาย นิยามอะไรก็ตามแต่ทำให้มันเข้าใจผิด นิยามที่หลากหลายทำให้การโต้ตอบประเด็นมันไม่ได้ตรงกันและหาข้อสรุปลงตัวได้ยาก กล่าวคือไม่คุยคนละภาษาก็คุยคนละเรื่อง การจะทำความเข้าใจระหว่างกันได้จะต้องจับต้นชนปลายว่าสิ่งที่เราพูดด้วยกันนั้นใช่เรื่องเดียวกันภาษาเดียวกันหรือไม่
2.สืบเนื่องจากข้อแรก คนพูดประโยคนี้ต้อง "พูดให้ชัด" ว่ายึดตามนิยามไหน แต่หลักๆผมคิดว่าเหล่า apologist (หลายคน) ก็พยายามจะดีเฟ้นด้วยวิชาความรู้บนแนวคิดออสเตรียนกัน ซึ่งมันก็ถูกต้องในแง่:
2.1) สถานการณ์ ณ ปัจจุบันมันเป็น "fiat standard" ด้วยเหตุนี้คำอธิบายนิยามที่สะท้อนกับสถานการณ์นี้ที่มัน “เป็น” มากที่สุด ไม่ใช่คำนิยามการเงินสมัยใหม่ตามแนวทางเศรษฐศาสตร์กระแสหลักปัจจุบัน แต่เป็นออสเตรียนที่ชัดเจนและถูกต้องกว่า
2.2) จากข้อ (2.1) “การนิยาม” ที่ถูกต้องไม่ใช่แค่เรื่องการทำความเข้าใจ “fiat standard” เท่านั้น มันยังรวมไปถึงนิยามทางเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบันที่นำไปสู่ปัญหาอย่างอื่นที่เราเห็นในปัจจุบันได้
ยกตัวอย่างปัญหา: การเกิดตลาดล้มเหลว (market failure) นักคิดสายนีโอเคนส์ (neo-keynesianism) มักจะอธิบายว่าเป็นเพราะตลาดเสรีทำงานผิดพลาดและมันไม่สมบูรณ์แบบไงละ ตลาดตามจริงแล้วมันมันไม่ได้มีการกำกับตัวเอง (self-regulating) หมายความว่ามันไม่ได้มีความเป็นระบบระเบียบอะไร กรณีที่เห็นภาพมากที่สุดในเรื่องของตลาดล้มเหลวที่ชอบหยิบยกมาบ่อยก็คือ 1.การผูกขาด (monopoly) 2.อันตรายบนศีลธรรม (moral hazard) 3.การจัดสรรทรัพยากรในภาคเอกชนไม่มีประสิทธิภาพ (productive andallocative inefficiency) 4.สิ่งแวดล้อมเสียหายเพราะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ฯลฯ
ทางออกของนีโอเคนส์: รัฐแทรกแซง (government interventionism) ภายใต้ตามหลักนิยามทางเศรษฐศาสตร์และการจำแนกปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ มันจะต้อง “ทำอย่างไรก็ได้ให้เกิดความสมบูรณ์” หมายถึง ถ้าตลาดล้มเหลวมันลดทอนความพึงพอใจของปัจเจก รัฐก็ต้องเข้าไปช่วยเหลือเสีย หรือ ถ้าเกิดความไม่แฟร์ตาม “กลไกตลาด” (?) อย่างการผูกขาด รัฐบาลจะต้องเข้าไปแทรกแซงเพื่อให้เกิดการแข่งขันเสรีขึ้นตามโมเดล “การแข่งขันสมบูรณ์” (perfect competition) …
Keys: การแทรกแซงของรัฐ, การแข่งขันสมบูรณ์, อรรถประโยช์นิยม (ความพึงพอใจ)
ตรงกันข้ามการนิยามเศรษฐศาสตร์ที่ถูกต้องอย่างแท้จริงไม่ใช่การนิยามตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ของสำนักคลาสสิค (classical economics) ไม่ใช่การนิยามตามสำนักนีโอคลาสสิค (neoclassical economics) หรือสำนักเคนส์จนถึงโพสต์เคนส์ เพราะทุกนิยามมันจะวนเวียนอยู่กับการจำกัดมนุษย์อยู่เพียงแค่ “สัตว์ทางเศรษฐกิจ” (homo economicus) แต่นิยามที่ถูกต้องคือนิยามของออสเตรียนครับ เพราะอะไร?
การนิยามเศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริงที่ออสเตรียนเสนอมาตลอดคือศาสตร์ที่ศึกษา “Man act” คือมองมนุษย์ในภาพกว้างไม่ได้เจาะจงว่าต้องเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพราะมันซับซ้อน ไม่ใช่นิยามแบบ "utilitarianism-style economics" ต้อง maximize สิ่งที่เรียกว่า 'ความพึงพอใจ' 'กำไร' 'ความสุข' หรืออะไรก็แล้วแต่ ตรงนี้ผมพอจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายครับยังไม่ต้องลงดีเทลลึก แต่ผมอยากบอกปัญหาส่วนหนึ่งที่ไม่ว่าคนที่เป็น bitcoiner หรือใครก็ตามที่สมาทานสำนักเศรษฐศาสตร์ออสเตรียน หรือ สายตลาดเสรีทั้งหลาแหล่มักจะตกอยู่ในกับดักนิยามทางเศรษฐศาสตร์ที่เล่าเรียนและถูกปูมาอย่างมีปัญหา แล้วบางครั้งเราก็ดันไปใช้โดยไม่รู้ตัว...
(2.2.1) ยกตัวอย่างกับดับทางนิยามทางเศรษฐศาสตร์:
(1) 'กลไกตลาดคือสิ่งที่ดีที่สุดในทุกเรื่อง' ซึ่งคำนี้ถ้ามองโดยตามปกติไม่มีปัญหา แต่หากมองบนประเด็นจริยศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ออสเตรียนตามจริงมันมีปัญหาเต็มๆ เพราะตลาดเนี่ยมันเป็นสภาวะ "asymmetric information" มันจึงไม่เพอร์เฟคหรือดีที่สุด ถ้าพูดโดยคงให้คำมันดูดีก็ต้องพูดว่า "กลไกตลาดไม่ได้ดีที่สุด แต่มันดีกว่ารัฐบาล"
ตรงนี้ให้ระวังนิยามเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันเพราะหลายคนศึกษาออสเตรียน แต่เอา neoclassical economics ไปปนนิยามซะแล้ว
(2) ‘เงินเฟ้อ คือ การเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้าและบริการและเงินฝืด คือ การลดลงของราคาสินค้าและบริการ’ อันนี้ไม่ต้องลงรายละเอียดอะไรมากเพราะปัญหามันก็กลับไปที่ “Keynesian revolution” นิยามความหมายเงินเฟ้อถูกบิดเบือนไปจากเดิม
มีอีกหลายอันแต่ผมนึกไม่ออก ตัวอย่างอื่นมักจะรวมไปถึง “มายาคติ” ทางเศรษฐศาสตร์ที่เพี้ยนอันเกิดจากนิยามทางเศรษฐศาสตร์มันมีปัญหาด้วย
3.เนื่องจากคนออกมาไม่เห็นด้วยในประเด็น “เงินสดคือหนี้” ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มปัญญาชน "เทคโนแครต" (technocrat) ก่อนอื่นสหายที่รักทุกท่านต้องเข้าใจว่าคนทำงานเป็นเทคโนแครต หรือ กลุ่มชนชั้นผู้จัดการ (Managerialism) ย่อมดำรงอยู่ด้วยความไม่เป็นมิตรและประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง พวกเขามีทัศนคติที่จะต้องคำนึงถึงสถาบันและหน้าที่ของตนเองโดยอ้างทำเพื่อประชาชน (กี่โมง?)
คนพวกนี้มีความเป็นมืออาชีพที่มักจะมีพลังในการตัดสินใจทิศทางขององค์กรใดก็ตามสูงไม่ว่าจะภาครัฐ ภาคเอกชน กลุ่มนอกภาครัฐ ซ้ำร้ายคือยุคปัจจุบันเทคโนแครตคอ่นข้างอินกับประเด็นซ้ายมากหลายเรื่อง อย่างเช่น เรื่องเศรษฐกิจให้เท่าเทียมกันยันการสร้างวัฒนธรรมแบบพลเมืองโลกนิยม เป็นต้น
แต่คนเหล่านี้แตกต่างจากคอมมิวนิสต์ช่วงสงครามเย็น เพราะเทคโนแครตคือฝ่ายซ้ายใหม่ที่ผลิบานช่วงระหว่างสงครามเย็น แล้วเมื่อกระบวนทัศน์โลกที่ "เสรีนิยม" ชนะสงครามเย็น ก็เหลือเพียงกลุ่มพวกเขา (เทคโนแครต) ที่คุมทิศทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมของทั่วโลก กลุ่มนี้มีโอกาสรอดในยุคที่รัฐมีบทบาทกับโลกนี้สูงเพราะพวกเขาคือบุคลากรสำคัญในบริบทโลกปัจจุบัน
ย้อนกลับมาในเรื่องของ "เงิน" หน้าที่ของพวกเขาคือต้องรักษาสถานภาพของตนเองด้วยการไม่ให้สถาบันตัวเองเกิดความเสื่อมและต้องพิทักษ์รักษาระบอบการปกครองแบบนี้เอาไว้ให้มั่นคงยืนนานสืบไป
กล่าวคือ ความเป็นเทคโนแครตทำให้ต้อง "รักษาสถานภาพของระบอบในปัจจุบัน" แม้แต่เรื่องความรู้วิชาการเรียนในเศรษฐศาสตร์การเงินกระแสหลักที่เป็นอยู่แบบนี้ แน่นอนว่าในทางกลับกันพวกเขาก็กลัวจนหัวหดว่าระบอบของตัวเองกำลังพังทลายลงเพราะความจริงใหม่เข้ามาแทนที่ (สื่อถึงยุค “หลังความจริง” หรือ post-truth ตามบริบททางการเมืองแบบยุคหลังสมัยใหม่)
แน่นอนว่าเมื่อเรา tracking ปัญหาตรงนี้จะพบว่าจะเจอมันเกิดขึ้นหลัง “Keynesian revolution” จะเห็นว่าผลกระทบมันกว้างไกลมาก เพราะมันนำไปสู่ความขัดแย้งในนิยามเศรษฐศาสตร์ นิยามแนวคิดทางการเมือง นิยามความรู้เฉพาะทางใดๆ ก็ตามถูกเปลี่ยนแปลงเพราะ "ชนชั้นนำหัวก้าวหน้า”
4.ต้องยอมรับอย่างทั่วกันว่าคนทั่วไปไม่ได้เก็ทออสเตรียนขนาดนั้น ไม่ได้เก็ทสิ่งที่ นักเศรษฐศาสตร์ออสเตรียน หรือ ใครหลายคนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจตรงนี้
แม้ว่าฝั่งหนึ่งจะต้องยืนยันว่า 'Fiat standard" มันมีปัญหาอย่างไร … คนส่วนใหญ่อาจไม่ได้เข้าใจสิ่งที่สื่อนักหากเป็นประเด็นที่ซับซ้อนเกินไป ยกเว้นแต่จะนำเข้าไอเดียที่ถูกย่อยเข้าใจง่ายแล้วเกิด gaslighting ขึ้นพร้อมกับความเหมาะสมของสถานการณ์ (ทุกฝ่ายใช้หมดไม่ว่าใคร) หรือ เทคโนแครตบางกลุ่มที่มีความคิดความเข้าใจว่า “Fiat standard” มีปัญหาอย่างไรและข้อเสนอของสำนักออสเตรียนสำคัญอย่างไร แต่พวกเขามีหน้าที่ในชีวิตที่สำคัญกว่าตามข้อ (3) หมายความว่าหน้าที่สำคัญกว่าแต่นั้นก็คือการรักษาระบอบปัจจุบันเอาไว้
แต่ผมเห็นว่าระบอบมันกล่อมเกลาและหล่อหลอมความเชื่อความคิดคนได้เหมือนกันมันจึงมีแค่คนเพียงหยิบมือเท่านั้นที่จะเป็นสิ่งแปลกแยกจากระบอบนี้แล้วไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้ในระบอบแบบนี้ด้วยคนเพียงหยิบมือที่อยู่ภายในระบบแล้วหวัง “ปฏิรูป” ผมเข้าใจได้ว่าคนที่เป็นเทคโนแครต ไม่ใช่คนแบบนโปเลียน ซีซาร์ ฮิตเลอร์ หรือมหาบุรุษทั้งหลายที่มีพละกำลังและบารมีที่จะ “ปฏิวัติ” เพื่อเปลี่ยนหน้าประวัติศาสตร์ได้
ในท้ายที่สุดคนหลายคนที่ตาสว่างแล้วก็ต้องจำใจยอมรับความเป็น “ขี้ข้า” ในระบบ "ทุนนิยมผู้จัดการ" ที่สร้างสภาวะทาสภายใต้รัฐ-ชาติสมัยใหม่
5.หากเรามองประเด็นนี้ไปไกลกว่านั้น หรือ ไม่ใช่แค่ประเด็นนี้แต่รวมไปถึงการมีอยู่ของขั้วตรงข้ามของรัฐ ขั้วตรงข้ามขององค์กรนอกรัฐ ขั้วตรงข้ามของแนวคิดฝ่ายซ้ายทั้งปวงย่อมเป็นอุปสรรคของชนชั้นนำที่ปกครองโลกอยู่
สำหรับกรณีของ “เงิน” การมีอยู่ของอิสรภาพทางการเงินในโลกย่อมเป็นอุปสรรคของชนชั้นนำยิวที่ควบคุมเงินโลก ยกตัวอย่าง World Economic Forum ช่วงหนึ่งที่ Klaus Schwab พยายามจะพูดถึงความอันตรายต่อระบบโลกปัจจุบันที่เกิดจาก anti-system movement อย่าง “libertarianism” ตรงนี้สำคัญอย่างยิ่งยวดถ้าใครนำไปขมวดปมหรือขยายความตรงนี้เพิ่มให้จะเป็นพระคุณยิ่ง
#siamstr
Published at
2024-09-19 16:00:21Event JSON
{
"id": "be1e6032a507ba9fdb887dd97901fff248db6a0109c40267cc47d152f7ec0fda",
"pubkey": "6d9b428fc24568e5df18cd358e93ebc0001adb676a0a212528704553dd7d4bd0",
"created_at": 1726761621,
"kind": 1,
"tags": [
[
"client",
"Wherostr",
"31990:3db5e1b9daa57cc6a7d552a86a87574eea265e0759ddeb87d44e0727f79ed88d:1697703329057"
],
[
"t",
"siamstr"
]
],
"content": "*โพสต์นี้เป็นฉบับสมบูรณ์จากในเฟซ*\n*มีย่อยไปบ้างแต่อยากให้อ่านจนครบแล้วแยกประเด็นไปทีละข้อนะครับ*\n\n*********************************\n\n\"เงินสดคือหนี้\"\n\nตัวเรามองเห็นปัญหาที่คนส่วนใหญ่งงกันมีดังนี้\n\n1.นิยามไม่ตรงกัน (definition) บางคนหยิบนิยามตามบัญชี นิยามตามเศรษฐศาสตร์การเงินกระแสหลัก (ไม่ใช่ออสเตรียน) นิยามตามกฎหมาย นิยามอะไรก็ตามแต่ทำให้มันเข้าใจผิด นิยามที่หลากหลายทำให้การโต้ตอบประเด็นมันไม่ได้ตรงกันและหาข้อสรุปลงตัวได้ยาก กล่าวคือไม่คุยคนละภาษาก็คุยคนละเรื่อง การจะทำความเข้าใจระหว่างกันได้จะต้องจับต้นชนปลายว่าสิ่งที่เราพูดด้วยกันนั้นใช่เรื่องเดียวกันภาษาเดียวกันหรือไม่\n\n2.สืบเนื่องจากข้อแรก คนพูดประโยคนี้ต้อง \"พูดให้ชัด\" ว่ายึดตามนิยามไหน แต่หลักๆผมคิดว่าเหล่า apologist (หลายคน) ก็พยายามจะดีเฟ้นด้วยวิชาความรู้บนแนวคิดออสเตรียนกัน ซึ่งมันก็ถูกต้องในแง่:\n\n2.1) สถานการณ์ ณ ปัจจุบันมันเป็น \"fiat standard\" ด้วยเหตุนี้คำอธิบายนิยามที่สะท้อนกับสถานการณ์นี้ที่มัน “เป็น” มากที่สุด ไม่ใช่คำนิยามการเงินสมัยใหม่ตามแนวทางเศรษฐศาสตร์กระแสหลักปัจจุบัน แต่เป็นออสเตรียนที่ชัดเจนและถูกต้องกว่า \n\n2.2) จากข้อ (2.1) “การนิยาม” ที่ถูกต้องไม่ใช่แค่เรื่องการทำความเข้าใจ “fiat standard” เท่านั้น มันยังรวมไปถึงนิยามทางเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบันที่นำไปสู่ปัญหาอย่างอื่นที่เราเห็นในปัจจุบันได้ \n\nยกตัวอย่างปัญหา: การเกิดตลาดล้มเหลว (market failure) นักคิดสายนีโอเคนส์ (neo-keynesianism) มักจะอธิบายว่าเป็นเพราะตลาดเสรีทำงานผิดพลาดและมันไม่สมบูรณ์แบบไงละ ตลาดตามจริงแล้วมันมันไม่ได้มีการกำกับตัวเอง (self-regulating) หมายความว่ามันไม่ได้มีความเป็นระบบระเบียบอะไร กรณีที่เห็นภาพมากที่สุดในเรื่องของตลาดล้มเหลวที่ชอบหยิบยกมาบ่อยก็คือ 1.การผูกขาด (monopoly) 2.อันตรายบนศีลธรรม (moral hazard) 3.การจัดสรรทรัพยากรในภาคเอกชนไม่มีประสิทธิภาพ (productive andallocative inefficiency) 4.สิ่งแวดล้อมเสียหายเพราะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ฯลฯ\n\nทางออกของนีโอเคนส์: รัฐแทรกแซง (government interventionism) ภายใต้ตามหลักนิยามทางเศรษฐศาสตร์และการจำแนกปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ มันจะต้อง “ทำอย่างไรก็ได้ให้เกิดความสมบูรณ์” หมายถึง ถ้าตลาดล้มเหลวมันลดทอนความพึงพอใจของปัจเจก รัฐก็ต้องเข้าไปช่วยเหลือเสีย หรือ ถ้าเกิดความไม่แฟร์ตาม “กลไกตลาด” (?) อย่างการผูกขาด รัฐบาลจะต้องเข้าไปแทรกแซงเพื่อให้เกิดการแข่งขันเสรีขึ้นตามโมเดล “การแข่งขันสมบูรณ์” (perfect competition) … \n\nKeys: การแทรกแซงของรัฐ, การแข่งขันสมบูรณ์, อรรถประโยช์นิยม (ความพึงพอใจ) \n\nตรงกันข้ามการนิยามเศรษฐศาสตร์ที่ถูกต้องอย่างแท้จริงไม่ใช่การนิยามตามแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ของสำนักคลาสสิค (classical economics) ไม่ใช่การนิยามตามสำนักนีโอคลาสสิค (neoclassical economics) หรือสำนักเคนส์จนถึงโพสต์เคนส์ เพราะทุกนิยามมันจะวนเวียนอยู่กับการจำกัดมนุษย์อยู่เพียงแค่ “สัตว์ทางเศรษฐกิจ” (homo economicus) แต่นิยามที่ถูกต้องคือนิยามของออสเตรียนครับ เพราะอะไร?\n\nการนิยามเศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริงที่ออสเตรียนเสนอมาตลอดคือศาสตร์ที่ศึกษา “Man act” คือมองมนุษย์ในภาพกว้างไม่ได้เจาะจงว่าต้องเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพราะมันซับซ้อน ไม่ใช่นิยามแบบ \"utilitarianism-style economics\" ต้อง maximize สิ่งที่เรียกว่า 'ความพึงพอใจ' 'กำไร' 'ความสุข' หรืออะไรก็แล้วแต่ ตรงนี้ผมพอจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายครับยังไม่ต้องลงดีเทลลึก แต่ผมอยากบอกปัญหาส่วนหนึ่งที่ไม่ว่าคนที่เป็น bitcoiner หรือใครก็ตามที่สมาทานสำนักเศรษฐศาสตร์ออสเตรียน หรือ สายตลาดเสรีทั้งหลาแหล่มักจะตกอยู่ในกับดักนิยามทางเศรษฐศาสตร์ที่เล่าเรียนและถูกปูมาอย่างมีปัญหา แล้วบางครั้งเราก็ดันไปใช้โดยไม่รู้ตัว...\n\n(2.2.1) ยกตัวอย่างกับดับทางนิยามทางเศรษฐศาสตร์:\n(1) 'กลไกตลาดคือสิ่งที่ดีที่สุดในทุกเรื่อง' ซึ่งคำนี้ถ้ามองโดยตามปกติไม่มีปัญหา แต่หากมองบนประเด็นจริยศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ออสเตรียนตามจริงมันมีปัญหาเต็มๆ เพราะตลาดเนี่ยมันเป็นสภาวะ \"asymmetric information\" มันจึงไม่เพอร์เฟคหรือดีที่สุด ถ้าพูดโดยคงให้คำมันดูดีก็ต้องพูดว่า \"กลไกตลาดไม่ได้ดีที่สุด แต่มันดีกว่ารัฐบาล\"\n\nตรงนี้ให้ระวังนิยามเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันเพราะหลายคนศึกษาออสเตรียน แต่เอา neoclassical economics ไปปนนิยามซะแล้ว\n\n(2) ‘เงินเฟ้อ คือ การเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้าและบริการและเงินฝืด คือ การลดลงของราคาสินค้าและบริการ’ อันนี้ไม่ต้องลงรายละเอียดอะไรมากเพราะปัญหามันก็กลับไปที่ “Keynesian revolution” นิยามความหมายเงินเฟ้อถูกบิดเบือนไปจากเดิม \n\nมีอีกหลายอันแต่ผมนึกไม่ออก ตัวอย่างอื่นมักจะรวมไปถึง “มายาคติ” ทางเศรษฐศาสตร์ที่เพี้ยนอันเกิดจากนิยามทางเศรษฐศาสตร์มันมีปัญหาด้วย\n\n3.เนื่องจากคนออกมาไม่เห็นด้วยในประเด็น “เงินสดคือหนี้” ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มปัญญาชน \"เทคโนแครต\" (technocrat) ก่อนอื่นสหายที่รักทุกท่านต้องเข้าใจว่าคนทำงานเป็นเทคโนแครต หรือ กลุ่มชนชั้นผู้จัดการ (Managerialism) ย่อมดำรงอยู่ด้วยความไม่เป็นมิตรและประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง พวกเขามีทัศนคติที่จะต้องคำนึงถึงสถาบันและหน้าที่ของตนเองโดยอ้างทำเพื่อประชาชน (กี่โมง?) \n\nคนพวกนี้มีความเป็นมืออาชีพที่มักจะมีพลังในการตัดสินใจทิศทางขององค์กรใดก็ตามสูงไม่ว่าจะภาครัฐ ภาคเอกชน กลุ่มนอกภาครัฐ ซ้ำร้ายคือยุคปัจจุบันเทคโนแครตคอ่นข้างอินกับประเด็นซ้ายมากหลายเรื่อง อย่างเช่น เรื่องเศรษฐกิจให้เท่าเทียมกันยันการสร้างวัฒนธรรมแบบพลเมืองโลกนิยม เป็นต้น \n\nแต่คนเหล่านี้แตกต่างจากคอมมิวนิสต์ช่วงสงครามเย็น เพราะเทคโนแครตคือฝ่ายซ้ายใหม่ที่ผลิบานช่วงระหว่างสงครามเย็น แล้วเมื่อกระบวนทัศน์โลกที่ \"เสรีนิยม\" ชนะสงครามเย็น ก็เหลือเพียงกลุ่มพวกเขา (เทคโนแครต) ที่คุมทิศทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมของทั่วโลก กลุ่มนี้มีโอกาสรอดในยุคที่รัฐมีบทบาทกับโลกนี้สูงเพราะพวกเขาคือบุคลากรสำคัญในบริบทโลกปัจจุบัน\n\nย้อนกลับมาในเรื่องของ \"เงิน\" หน้าที่ของพวกเขาคือต้องรักษาสถานภาพของตนเองด้วยการไม่ให้สถาบันตัวเองเกิดความเสื่อมและต้องพิทักษ์รักษาระบอบการปกครองแบบนี้เอาไว้ให้มั่นคงยืนนานสืบไป \nกล่าวคือ ความเป็นเทคโนแครตทำให้ต้อง \"รักษาสถานภาพของระบอบในปัจจุบัน\" แม้แต่เรื่องความรู้วิชาการเรียนในเศรษฐศาสตร์การเงินกระแสหลักที่เป็นอยู่แบบนี้ แน่นอนว่าในทางกลับกันพวกเขาก็กลัวจนหัวหดว่าระบอบของตัวเองกำลังพังทลายลงเพราะความจริงใหม่เข้ามาแทนที่ (สื่อถึงยุค “หลังความจริง” หรือ post-truth ตามบริบททางการเมืองแบบยุคหลังสมัยใหม่) \n\nแน่นอนว่าเมื่อเรา tracking ปัญหาตรงนี้จะพบว่าจะเจอมันเกิดขึ้นหลัง “Keynesian revolution” จะเห็นว่าผลกระทบมันกว้างไกลมาก เพราะมันนำไปสู่ความขัดแย้งในนิยามเศรษฐศาสตร์ นิยามแนวคิดทางการเมือง นิยามความรู้เฉพาะทางใดๆ ก็ตามถูกเปลี่ยนแปลงเพราะ \"ชนชั้นนำหัวก้าวหน้า” \n\n4.ต้องยอมรับอย่างทั่วกันว่าคนทั่วไปไม่ได้เก็ทออสเตรียนขนาดนั้น ไม่ได้เก็ทสิ่งที่ นักเศรษฐศาสตร์ออสเตรียน หรือ ใครหลายคนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจตรงนี้ \n\nแม้ว่าฝั่งหนึ่งจะต้องยืนยันว่า 'Fiat standard\" มันมีปัญหาอย่างไร … คนส่วนใหญ่อาจไม่ได้เข้าใจสิ่งที่สื่อนักหากเป็นประเด็นที่ซับซ้อนเกินไป ยกเว้นแต่จะนำเข้าไอเดียที่ถูกย่อยเข้าใจง่ายแล้วเกิด gaslighting ขึ้นพร้อมกับความเหมาะสมของสถานการณ์ (ทุกฝ่ายใช้หมดไม่ว่าใคร) หรือ เทคโนแครตบางกลุ่มที่มีความคิดความเข้าใจว่า “Fiat standard” มีปัญหาอย่างไรและข้อเสนอของสำนักออสเตรียนสำคัญอย่างไร แต่พวกเขามีหน้าที่ในชีวิตที่สำคัญกว่าตามข้อ (3) หมายความว่าหน้าที่สำคัญกว่าแต่นั้นก็คือการรักษาระบอบปัจจุบันเอาไว้ \n\nแต่ผมเห็นว่าระบอบมันกล่อมเกลาและหล่อหลอมความเชื่อความคิดคนได้เหมือนกันมันจึงมีแค่คนเพียงหยิบมือเท่านั้นที่จะเป็นสิ่งแปลกแยกจากระบอบนี้แล้วไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้ในระบอบแบบนี้ด้วยคนเพียงหยิบมือที่อยู่ภายในระบบแล้วหวัง “ปฏิรูป” ผมเข้าใจได้ว่าคนที่เป็นเทคโนแครต ไม่ใช่คนแบบนโปเลียน ซีซาร์ ฮิตเลอร์ หรือมหาบุรุษทั้งหลายที่มีพละกำลังและบารมีที่จะ “ปฏิวัติ” เพื่อเปลี่ยนหน้าประวัติศาสตร์ได้\n\nในท้ายที่สุดคนหลายคนที่ตาสว่างแล้วก็ต้องจำใจยอมรับความเป็น “ขี้ข้า” ในระบบ \"ทุนนิยมผู้จัดการ\" ที่สร้างสภาวะทาสภายใต้รัฐ-ชาติสมัยใหม่\n\n5.หากเรามองประเด็นนี้ไปไกลกว่านั้น หรือ ไม่ใช่แค่ประเด็นนี้แต่รวมไปถึงการมีอยู่ของขั้วตรงข้ามของรัฐ ขั้วตรงข้ามขององค์กรนอกรัฐ ขั้วตรงข้ามของแนวคิดฝ่ายซ้ายทั้งปวงย่อมเป็นอุปสรรคของชนชั้นนำที่ปกครองโลกอยู่ \n\nสำหรับกรณีของ “เงิน” การมีอยู่ของอิสรภาพทางการเงินในโลกย่อมเป็นอุปสรรคของชนชั้นนำยิวที่ควบคุมเงินโลก ยกตัวอย่าง World Economic Forum ช่วงหนึ่งที่ Klaus Schwab พยายามจะพูดถึงความอันตรายต่อระบบโลกปัจจุบันที่เกิดจาก anti-system movement อย่าง “libertarianism” ตรงนี้สำคัญอย่างยิ่งยวดถ้าใครนำไปขมวดปมหรือขยายความตรงนี้เพิ่มให้จะเป็นพระคุณยิ่ง\n\n#siamstr",
"sig": "12c3c1673302e7ad2cbf3609bd259f6f409860411f38ad210684d92d7352950744d7b79abedabb951f7fa54a4a01bbce935178aeeac5911ebc272433aa479a79"
}