Ayasa on Nostr: ...
“มหาลัยรัฐปกติเค้าสอนอะไรกันบ้างนะ”
ผมไม่ได้จะมา disclaimer อาจารย์ผมว่าสอนผิดอะไรหรอกนะครับ แต่แค่อยากเล่าเฉย ๆ ว่าในมหาลัยรัฐที่ผมกำลังเรียนอยู่ ซึ่งเป็นคณะสายสุขภาพ ว่าเค้าสอนอะไรบ้าง ซึ่งเป็นวิชาเกี่ยวกับการเผาผลาญสารอาหาร (metabolism) แต่ขอบอกไว้ก่อนว่านี้ไม่ใช่ “ทั้งหมด” ที่ผมเรียน เป็นแค่ส่วนหนึ่งที่ชวนผมรู้สึก “เอ๊ะ” ว่า Fiat มันอยู่ได้ทุกวงการจริง ๆ บางอย่างผมก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ดีครับ ก็เลยอยากแชร์
.
ผมได้ย่อยเนื้อหาให้มันเข้าใจได้ง่าย ๆ เป็นยังไง โปรดใช้วิจารณญาณ ไปดูกันครับ
.
“ทำไมเราต้องกินคาร์โบไฮเดรต” , “มันโอเคหรอ ที่จะกินอาหาร low carb”
- อาจารย์พูดถึง “ผลที่ได้จากการย่อยอาหาร” รวม ๆ แล้วเรากิน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ซึ่งคาร์โบไฮเดรตสลายได้ “คาร์บอนไดออกไซต์” เราหายใจทิ้งไปอยู่แล้ว ไขมันเนี่ย ถ้ากินถึงจุดหนึ่ง มันจะเปลี่ยนเป็น “keto bodies” ซึ่งทำให้เลือดเป็นกรด ส่วนโปรตีน สลายแล้วได้ ”ยูเรีย“ ขับทางไต กินมากไปไตก็วาย low carb ไม่สามารถกินนาน ๆ ได้หรอกครับ
.
“ถ้าอ้วนไปแล้ว จะกลับมาผอมยากนะ”
- อาจารย์อธิบายถึงการสะสมไขมันในร่างกายว่า คนเราจะอ้วนได้จะขึ้นกับ 2 อย่างคือ “จำนวน” และ “ขนาด” ของเซลล์ไขมัน การกินที่มากเกินไป จะเพิ่มทั้ง ”จำนวนและขนาด“ การออกกำลังกายเป็นเพียงแค่ “การลดขนาดของเซลล์ไขมัน” เราจึงผอมลง แต่ถ้าเรามีพฤติกรรมการกินเหมือนเดิม มันก็กลับไปอย่างเดิม ฉะนั้นอย่าอ้วนแต่แรกดีกว่าครับ
.
”น้ำตาลเป็นพลังงานหลักของสมอง“
- ใช่ครับ that’s why เราควรกินคาร์โบไฮเดรต สมองเราเลือกพลังงานจากน้ำตาล เราจึงคารกินคาร์โบไฮเดรต
.
“ทำยังไงก็ได้ให้ HDL สูง LDL ต่ำ“
- หากเรากินไขมันเยอะ ๆ เซลล์ไขมันก็เก็บไม่ทัน มันก็ไปล่องลอยในกระแสเลือด มีโอกาสเกิดไขมันอุดตันและหลอดเลือดฉีกขาดในระดับเล็ก ๆ พอแก่ตัวไป ก็ซ่อมผนังหลอดเลือดไม่ทัน เริ่มมีเกล็ดเลือด ก่อเป็น plaque (สุดท้ายมันจะก่อเป็นหลอดเลือดตีบ) นั่นแหละครับ LDL เป็นไขมันเลว HDL เป็นไขมันดี เราไม่ควรมีไขมันในเลือดเยอะ นิสิตกินชาบูระวัง ๆ หน่อย แก่ไปลำบาก
.
“ระวังนะนิสิต กินชาบู ไม่กินผัก”
- เมื่อร่างกายดูดซึมไขมัน หากตับกำจัดไขมันไม่ทัน จะมีไขมันที่ตับ ก่อเป็น ”ไขมันฟอกตับ“ ได้ และไขมันส่วนหนึ่ง ก็จะถูกสร้างเป็น “น้ำดี” ซึ่งน้ำดีทำให้ไขมันถูกดูดซึมง่าย ดังนั้นอะไรละ ที่ช่วยตัดวงจรไขมันนี้ “ผักไง” ผักจะดูดไขมันไว้แทน ฉันจะรับไว้แทนนายเอง!
.
“กินพาราควรกินยาละลายเสมหะ“
- พาราเซตามอลเป็นยาที่ถูกกำจัดที่ตับ หากมี “ glutathione” ในตับมากเพียงพอ พาราก็จะช่วยลดไข้ แต่ถ้ามีไม่เพียงพอ พาราก็จะเป็นพิษ จึงไม่ควรทานติดต่อกันมากไป ในยาละลายเสมหะ มีส่วนประกอบที่ร่างกายสามารถนำไปสร้าง “glutathione” ได้ เห็นใครจะสละยานเตรียมไปโลกหน้า กินพารา 50 เม็ด หมอจึงฉีด glutathione เข้าเลือด ดังนั้นกินพารา กินยาละลายเสมหะ
.
”อย่าเครียดนะนิสิต“
- เมื่อเราเครียด ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนความเครียดหรือ “cortisol” ซึ่งมันจะทำให้น้ำตาลในเลือดสูงตลอด เพราะสมองมันจะใช้พลังงานคิดนู่นคิดนี้ ซึ่งสมองใช้น้ำตาลเป็นหลัก น้ำตาลในเลือดสูงจะทำให้เกิด “อนุมูลอิสระ” มะเร็งจะถามหาได้
.
“อย่าลืมกินข้าวเช้านะนิสิต”
- อาจารย์เคยไม่กินข้าวเช้าไปคุมสอบ น้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) ขึ้นมา วูบ มือสั่น สมองเบลอไปหมด ดีนะมีนิสิตพกลูกอมติดตัวไว้ วันนี้อาจารย์กินอาหารเช้ามาแล้ว เป็นซีเรียลซึ่งเป็น complex carbohydrates ไม่วูบแน่นอน
.
“นิสิตควรระวังนะ หากไม่กินข้าวเช้าบ่อย ๆ“
- ถ้านิสิตไม่กินข้าวเช้ามา เพราะต้องรีบมาเรียน ตับก็จะปล่อย LDL มาให้ร่างกายใช้ ซึ่ง LDL เป็นไขมันไม่ดี ก่อนมาเรียนก็ควรกินข้าวเช้ามาด้วย
.
“นิสิตควรพกลูกอมที่มีน้ำตาลไว้หน่อยนะ”
- หากน้ำตาลตก (hypoglycemia) อาการจะเริ่มมา ก็จะหงุดหงิดง่าย วูบ มือสั่น ถ้ามีลูกอม ย้ำนะครับว่าต้องมีน้ำตาล หรือน้ำแดงเฮลบลูบอยเนี่ย ดีมากเลย กินไปซักพัก 5 นาที ก็ฟื้นละ
.
“ควรกินบุฟเฟต์ที่ไม่จำกัดเวลานะ“
- นิสิตลองคิดดู หากเป็นบุฟเฟต์ที่จำกัดเวลา นิสิตจะรีบกินมาก กินไปเยอะมาก น้ำตาลในเลือดก็ดีดปี๊ด insulin (ฮอร์โมนลดระดับน้ำตาลในเลือด) ก็จะหลั่งมาก น้ำตาลก็จะตกเร็ว อาจทำให้เกิด hypoglycemia ได้ เพราะงั้นไม่ต้องรีบกิน กินเรื่อย ๆ หรือไม่จำกัดเวลาไปเลยยย~
.
“กินแอลกอฮอล์ ระวังน้ำตาลตกได้นะนิสิต“
- หากเรากินแอลกอฮอล์ ตับก็จะสลายใช่ไหม ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มาคือ “NADH” หากเรากินแอลกอฮอล์เยอะ ๆ NADH ก็จะเหลือบาน ซึ่ง NADH สามารถนำไปสร้างพลังงานได้ ตับมันก็คิดว่าพลังงานเหลือ ๆ ละ ไม่ต้องเพิ่มน้ำตาลในเลือดแล้ว วะฮะฮ่า เรียบร้อยน้ำตาลก็ค่อย ๆ ตก อะแถม NADH เป็นหนึ่งสิ่งที่จะถูกใช้เพื่อสร้างไขมันสะสม ถ้ากินแอลกอฮอล์มากไป ก็เป็นไขมันฟอกตับ แล้วมันจะกลายเป็นผังผืด ตับก็วายในที่สุดดด
.
ทั้งหมดนี้เป็นแค่ส่วนหนึ่งของที่ผมเรียนครับ ไม่มีอาจารย์คนไหนที่คิดร้ายกับนิสิตหรอกครับ ทุกคนหวังดีกับลูกศิษย์ตัวเองเสมอ แค่อยากแชร์ว่ามหาลัยรัฐสอนอะไรแก่สายสุขภาพบ้าง อย่าพึ่งเชื่อในสิ่งที่พึ่งอ่านไป ผมแค่นักศึกษาคนหนึ่ง เชื่อในสิ่งที่ตัวเองศึกษามาครับ
.
สุดท้ายนี้ “stay humble and แดกหญ้ากันเถอะ“ ขอบคุณครับ
.
#siamstr
Published at
2024-03-25 15:09:10Event JSON
{
"id": "b3a7d8bb07ae990eac523a6b0eb56aee615402714de9f8192775df1fdb948382",
"pubkey": "c14986c8d132a35e2bdd9b52b672f5e0b066db7b5ffe4b80a02d577ef219ddb5",
"created_at": 1711379350,
"kind": 1,
"tags": [
[
"t",
"siamstr"
]
],
"content": "“มหาลัยรัฐปกติเค้าสอนอะไรกันบ้างนะ”\n\nผมไม่ได้จะมา disclaimer อาจารย์ผมว่าสอนผิดอะไรหรอกนะครับ แต่แค่อยากเล่าเฉย ๆ ว่าในมหาลัยรัฐที่ผมกำลังเรียนอยู่ ซึ่งเป็นคณะสายสุขภาพ ว่าเค้าสอนอะไรบ้าง ซึ่งเป็นวิชาเกี่ยวกับการเผาผลาญสารอาหาร (metabolism) แต่ขอบอกไว้ก่อนว่านี้ไม่ใช่ “ทั้งหมด” ที่ผมเรียน เป็นแค่ส่วนหนึ่งที่ชวนผมรู้สึก “เอ๊ะ” ว่า Fiat มันอยู่ได้ทุกวงการจริง ๆ บางอย่างผมก็รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่ดีครับ ก็เลยอยากแชร์\n.\nผมได้ย่อยเนื้อหาให้มันเข้าใจได้ง่าย ๆ เป็นยังไง โปรดใช้วิจารณญาณ ไปดูกันครับ\n.\n“ทำไมเราต้องกินคาร์โบไฮเดรต” , “มันโอเคหรอ ที่จะกินอาหาร low carb”\n- อาจารย์พูดถึง “ผลที่ได้จากการย่อยอาหาร” รวม ๆ แล้วเรากิน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ซึ่งคาร์โบไฮเดรตสลายได้ “คาร์บอนไดออกไซต์” เราหายใจทิ้งไปอยู่แล้ว ไขมันเนี่ย ถ้ากินถึงจุดหนึ่ง มันจะเปลี่ยนเป็น “keto bodies” ซึ่งทำให้เลือดเป็นกรด ส่วนโปรตีน สลายแล้วได้ ”ยูเรีย“ ขับทางไต กินมากไปไตก็วาย low carb ไม่สามารถกินนาน ๆ ได้หรอกครับ\n.\n“ถ้าอ้วนไปแล้ว จะกลับมาผอมยากนะ”\n- อาจารย์อธิบายถึงการสะสมไขมันในร่างกายว่า คนเราจะอ้วนได้จะขึ้นกับ 2 อย่างคือ “จำนวน” และ “ขนาด” ของเซลล์ไขมัน การกินที่มากเกินไป จะเพิ่มทั้ง ”จำนวนและขนาด“ การออกกำลังกายเป็นเพียงแค่ “การลดขนาดของเซลล์ไขมัน” เราจึงผอมลง แต่ถ้าเรามีพฤติกรรมการกินเหมือนเดิม มันก็กลับไปอย่างเดิม ฉะนั้นอย่าอ้วนแต่แรกดีกว่าครับ\n.\n”น้ำตาลเป็นพลังงานหลักของสมอง“\n- ใช่ครับ that’s why เราควรกินคาร์โบไฮเดรต สมองเราเลือกพลังงานจากน้ำตาล เราจึงคารกินคาร์โบไฮเดรต\n.\n“ทำยังไงก็ได้ให้ HDL สูง LDL ต่ำ“\n- หากเรากินไขมันเยอะ ๆ เซลล์ไขมันก็เก็บไม่ทัน มันก็ไปล่องลอยในกระแสเลือด มีโอกาสเกิดไขมันอุดตันและหลอดเลือดฉีกขาดในระดับเล็ก ๆ พอแก่ตัวไป ก็ซ่อมผนังหลอดเลือดไม่ทัน เริ่มมีเกล็ดเลือด ก่อเป็น plaque (สุดท้ายมันจะก่อเป็นหลอดเลือดตีบ) นั่นแหละครับ LDL เป็นไขมันเลว HDL เป็นไขมันดี เราไม่ควรมีไขมันในเลือดเยอะ นิสิตกินชาบูระวัง ๆ หน่อย แก่ไปลำบาก\n.\n“ระวังนะนิสิต กินชาบู ไม่กินผัก”\n- เมื่อร่างกายดูดซึมไขมัน หากตับกำจัดไขมันไม่ทัน จะมีไขมันที่ตับ ก่อเป็น ”ไขมันฟอกตับ“ ได้ และไขมันส่วนหนึ่ง ก็จะถูกสร้างเป็น “น้ำดี” ซึ่งน้ำดีทำให้ไขมันถูกดูดซึมง่าย ดังนั้นอะไรละ ที่ช่วยตัดวงจรไขมันนี้ “ผักไง” ผักจะดูดไขมันไว้แทน ฉันจะรับไว้แทนนายเอง!\n.\n“กินพาราควรกินยาละลายเสมหะ“\n- พาราเซตามอลเป็นยาที่ถูกกำจัดที่ตับ หากมี “ glutathione” ในตับมากเพียงพอ พาราก็จะช่วยลดไข้ แต่ถ้ามีไม่เพียงพอ พาราก็จะเป็นพิษ จึงไม่ควรทานติดต่อกันมากไป ในยาละลายเสมหะ มีส่วนประกอบที่ร่างกายสามารถนำไปสร้าง “glutathione” ได้ เห็นใครจะสละยานเตรียมไปโลกหน้า กินพารา 50 เม็ด หมอจึงฉีด glutathione เข้าเลือด ดังนั้นกินพารา กินยาละลายเสมหะ\n.\n”อย่าเครียดนะนิสิต“\n- เมื่อเราเครียด ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนความเครียดหรือ “cortisol” ซึ่งมันจะทำให้น้ำตาลในเลือดสูงตลอด เพราะสมองมันจะใช้พลังงานคิดนู่นคิดนี้ ซึ่งสมองใช้น้ำตาลเป็นหลัก น้ำตาลในเลือดสูงจะทำให้เกิด “อนุมูลอิสระ” มะเร็งจะถามหาได้\n.\n“อย่าลืมกินข้าวเช้านะนิสิต”\n- อาจารย์เคยไม่กินข้าวเช้าไปคุมสอบ น้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) ขึ้นมา วูบ มือสั่น สมองเบลอไปหมด ดีนะมีนิสิตพกลูกอมติดตัวไว้ วันนี้อาจารย์กินอาหารเช้ามาแล้ว เป็นซีเรียลซึ่งเป็น complex carbohydrates ไม่วูบแน่นอน\n.\n“นิสิตควรระวังนะ หากไม่กินข้าวเช้าบ่อย ๆ“\n- ถ้านิสิตไม่กินข้าวเช้ามา เพราะต้องรีบมาเรียน ตับก็จะปล่อย LDL มาให้ร่างกายใช้ ซึ่ง LDL เป็นไขมันไม่ดี ก่อนมาเรียนก็ควรกินข้าวเช้ามาด้วย\n.\n“นิสิตควรพกลูกอมที่มีน้ำตาลไว้หน่อยนะ”\n- หากน้ำตาลตก (hypoglycemia) อาการจะเริ่มมา ก็จะหงุดหงิดง่าย วูบ มือสั่น ถ้ามีลูกอม ย้ำนะครับว่าต้องมีน้ำตาล หรือน้ำแดงเฮลบลูบอยเนี่ย ดีมากเลย กินไปซักพัก 5 นาที ก็ฟื้นละ\n.\n“ควรกินบุฟเฟต์ที่ไม่จำกัดเวลานะ“\n- นิสิตลองคิดดู หากเป็นบุฟเฟต์ที่จำกัดเวลา นิสิตจะรีบกินมาก กินไปเยอะมาก น้ำตาลในเลือดก็ดีดปี๊ด insulin (ฮอร์โมนลดระดับน้ำตาลในเลือด) ก็จะหลั่งมาก น้ำตาลก็จะตกเร็ว อาจทำให้เกิด hypoglycemia ได้ เพราะงั้นไม่ต้องรีบกิน กินเรื่อย ๆ หรือไม่จำกัดเวลาไปเลยยย~\n.\n“กินแอลกอฮอล์ ระวังน้ำตาลตกได้นะนิสิต“\n- หากเรากินแอลกอฮอล์ ตับก็จะสลายใช่ไหม ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มาคือ “NADH” หากเรากินแอลกอฮอล์เยอะ ๆ NADH ก็จะเหลือบาน ซึ่ง NADH สามารถนำไปสร้างพลังงานได้ ตับมันก็คิดว่าพลังงานเหลือ ๆ ละ ไม่ต้องเพิ่มน้ำตาลในเลือดแล้ว วะฮะฮ่า เรียบร้อยน้ำตาลก็ค่อย ๆ ตก อะแถม NADH เป็นหนึ่งสิ่งที่จะถูกใช้เพื่อสร้างไขมันสะสม ถ้ากินแอลกอฮอล์มากไป ก็เป็นไขมันฟอกตับ แล้วมันจะกลายเป็นผังผืด ตับก็วายในที่สุดดด\n.\nทั้งหมดนี้เป็นแค่ส่วนหนึ่งของที่ผมเรียนครับ ไม่มีอาจารย์คนไหนที่คิดร้ายกับนิสิตหรอกครับ ทุกคนหวังดีกับลูกศิษย์ตัวเองเสมอ แค่อยากแชร์ว่ามหาลัยรัฐสอนอะไรแก่สายสุขภาพบ้าง อย่าพึ่งเชื่อในสิ่งที่พึ่งอ่านไป ผมแค่นักศึกษาคนหนึ่ง เชื่อในสิ่งที่ตัวเองศึกษามาครับ\n.\nสุดท้ายนี้ “stay humble and แดกหญ้ากันเถอะ“ ขอบคุณครับ\n.\n#siamstr",
"sig": "7f980d60a853f04fb2cefc6a9a72694e3e93758e402e6a1646d6b17507d7c2eac306caf669b154acedd46d90d3dee0ebb900261c63e8bb6abad7709dce3090a2"
}