SOUP on Nostr: ...
ร้อยกว่าปีที่ผ่านมา...รัฐบาลหวังดีเข้ามาจัดการชีวิตผู้คน แทนที่จะปล่อยผู้คนทำมาหากินกันเอง ด้วยระบบควบคุมวางแผนจากรัฐสารพัดชื่อเรียกต่างๆ นานๆ มากมายจนน่างงวย เช่น สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ ฟาสซิสต์ นาซี สวัสดิการแห่งรัฐ แนวคิดก้าวหน้า ทางเลือกที่สาม ประชาธิปไตยสังคมนิยม เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ และอื่นๆ อีกมากมาย
แต่ทั้งหมดนี้มีจุดร่วมเดียวกันคือ "รัฐ" หรือผู้ผูกขาดอำนาจ คิดว่าตัวเองบริหารจัดการชีวิตคนได้ดีกว่าปล่อยให้ผู้คนแข่งขันกันเองในตลาดเสรี นักเศรษฐศาสตร์สำนักออสเตรียนจึงเข้ามาอธิบายว่าทำไมความคิดแบบนี้มันถึงไปไม่รอด....และหลายครั้งก็ยังเป็นการสร้างปัญหาด้วยซ้ำ
ไม่ว่าจะเป็นประเทศไหน รัฐบาลก็มักออกกฎมาควบคุมสารพัด ตั้งแต่สินค้าอะไรผลิตได้บ้าง ผลิตยังไง งานแบบไหนทำได้ สินค้านั้นนี้ต้องราคาเท่าไร แม้แต่การค้าขายกับต่างประเทศก็ยังมีข้อตกลงที่ดูเหมือนจะเปิดกว้าง แต่จริงๆ แล้ว มันมีกฎระเบียบอยู่เต็มไปหมด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของปริมาณสินค้า วิธีการผลิต ภาษี ฯลฯ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อปกป้องผู้ผลิตในประเทศตัวเอง...
#นิทานอิสซุป EP4 ผมคิดว่าเรา
itssara (npub1z7k…xre4) น่าจะพาเพื่อนๆ #Siamstr มารู้จักกับประวัติศาสตร์อันยาวนานของสำนักเศรษฐศาสตร์ออสเตรียนแบบเจาะลึกกันดีกว่า แล้วเราค่อยไปตั้งคำถามกันต่อว่า "รัฐ" คืออะไรกับปรัชญาอิสรนิยม Libertarian ใน EP5
#นิทานอิสซุป เป็นรายการ History of economics
#JustEconomics พอดแคสเศรษฐศาสตร์เข้าใจง่ายๆ economics 101
Published at
2024-06-08 03:59:56Event JSON
{
"id": "0000021928410f451d2d76935f708d45b160f89835089cde10ff20a180a8a0b9",
"pubkey": "d5c3d0636715f1a9d5be2af8adae092d75579623ab223f7e970516184d1159b3",
"created_at": 1717819196,
"kind": 1,
"tags": [
[
"t",
"นิทานอิสซุป"
],
[
"t",
"siamstr"
],
[
"t",
"justeconomics"
],
[
"p",
"17ad50a532f2a8fcf48d6c49d7b1fedec59c13f80170ea753a38b91281f6af22",
"",
"mention"
],
[
"nonce",
"29698",
"21"
]
],
"content": "ร้อยกว่าปีที่ผ่านมา...รัฐบาลหวังดีเข้ามาจัดการชีวิตผู้คน แทนที่จะปล่อยผู้คนทำมาหากินกันเอง ด้วยระบบควบคุมวางแผนจากรัฐสารพัดชื่อเรียกต่างๆ นานๆ มากมายจนน่างงวย เช่น สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ ฟาสซิสต์ นาซี สวัสดิการแห่งรัฐ แนวคิดก้าวหน้า ทางเลือกที่สาม ประชาธิปไตยสังคมนิยม เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ และอื่นๆ อีกมากมาย\n\nแต่ทั้งหมดนี้มีจุดร่วมเดียวกันคือ \"รัฐ\" หรือผู้ผูกขาดอำนาจ คิดว่าตัวเองบริหารจัดการชีวิตคนได้ดีกว่าปล่อยให้ผู้คนแข่งขันกันเองในตลาดเสรี นักเศรษฐศาสตร์สำนักออสเตรียนจึงเข้ามาอธิบายว่าทำไมความคิดแบบนี้มันถึงไปไม่รอด....และหลายครั้งก็ยังเป็นการสร้างปัญหาด้วยซ้ำ\n\nไม่ว่าจะเป็นประเทศไหน รัฐบาลก็มักออกกฎมาควบคุมสารพัด ตั้งแต่สินค้าอะไรผลิตได้บ้าง ผลิตยังไง งานแบบไหนทำได้ สินค้านั้นนี้ต้องราคาเท่าไร แม้แต่การค้าขายกับต่างประเทศก็ยังมีข้อตกลงที่ดูเหมือนจะเปิดกว้าง แต่จริงๆ แล้ว มันมีกฎระเบียบอยู่เต็มไปหมด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของปริมาณสินค้า วิธีการผลิต ภาษี ฯลฯ ทั้งหมดนี้ก็เพื่อปกป้องผู้ผลิตในประเทศตัวเอง...\n\n#นิทานอิสซุป EP4 ผมคิดว่าเรา nostr:npub1z7k4pffj7250eaydd3ya0v07mmzecylcq9cw5af68zu39q0k4u3qj6xre4 น่าจะพาเพื่อนๆ #Siamstr มารู้จักกับประวัติศาสตร์อันยาวนานของสำนักเศรษฐศาสตร์ออสเตรียนแบบเจาะลึกกันดีกว่า แล้วเราค่อยไปตั้งคำถามกันต่อว่า \"รัฐ\" คืออะไรกับปรัชญาอิสรนิยม Libertarian ใน EP5\n\n#นิทานอิสซุป เป็นรายการ History of economics\n#JustEconomics พอดแคสเศรษฐศาสตร์เข้าใจง่ายๆ economics 101",
"sig": "4a96f1c3b00665bd90623df6293adec4ac44c4ea7dfcea564267cd4de8375ccc0a7506bbb41fec163966bb67c4f41d762866d3cc59edec44eb9eb35f26a03ebc"
}