pao.siwat on Nostr: ...
"การกำหนดขั้นต่ำนั่นแหละคือต้นเหตุของความไม่เท่าเทียมในสังคม"
โควทคำพูดประโยคนี้ เกิดขึ้นมาในหัวของเรา เมื่อเผอิญไปได้อ่านหนังสือ wealth of nation ของอดัม สมิทธ เล่ม 1 บท 1 ที่ว่าด้วยการแบ่งงานกันทำ เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้กำลังการผลิต , ทักษะ , ความชำนาญ , การตัดสินใจ ของแรงงานมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่แรงงาน หรือ มนุษย์แต่ละควรจะต้องมีทักษะซัก 1 อย่าง ทำไปเรื่อยๆ ให้ตัวเองเกิดความชำนาญ และจะมีการตัดสินใจที่ดี
ซึ่งถ้ามีครบตามนี้ ผลผลิต ผลผลิตที่ได้มามีคุณภาพดี ก็จะทำให้คนอื่นมาเห็นคุณค่า เช่น มาจ้างงาน มาซื้อสินค้า และให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับความยาก ง่าย กับสิ่งที่คนนั้นจะได้จากเรา
ทำให้เรามานั่งคิดว่าถ้ามันเป็นไปตามกลไกนี้ไม่มีตัวแปร หรือ ปัจจัย อื่นๆ เข้ามาแทรกแซงกลไกนี้ เช่นการมากำหนดค่าแรง ของรัฐ ที่มันเป็นแค่การแก้ปัญหาปลายเหตุที่เกิดจากทุกประเทศ ต้องการกระตุ้นการใช้จ่ายของประชาชนทุกรูปแบบ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ แต่ผลกระทบที่ตามมาคือการทำให้ประชาชน ใช้จ่ายเกินกว่ารายรับที่ตัวเองทำได้ และจำเป็นจะต้องก่อหนี้เพื่อให้ตัวเองดำรงชีพต่อไปได้ ซึ่งทำให้ประชาชนไม่มีเงินเก็บออม หารายได้มา ก็ใช้หมดไม่ว่ามาจากเหตุผลไดก็ตาม นี่แหละคือต้นเหตุที่ทำให้ประชาชนคนนึงไร้ทางเลือก
ทำให้ประชาชนจำเป็นต้องหารายได้มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อมาชำระหนี้ และดำรงชีพในสภาวะที่ปริมาณเงินล้นตลาด ที่เกิดจากการต้องการให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ
ที่สำคัญคือปริมาณประชาชนที่อยู่ในสภาวะที่ว่านี้ มีอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดปริมาณแรงงานที่ต้องการหางานใหม่ที่มีรายได้มากขึ้นเกินกว่า ปริมาณนายจ้าง จึงทำให้เกิดการกดราคาค่าแรงของแรงงานตามกลไกตลาด
จึงทำให้รัฐหาทางแก้ไขเพื่อให้รายได้ประชาชนไม่น้อยเกินไปโดยการไปกำหนดค่าแรงขั้นต่ำโดยที่ ไม่ได้ดูความยาก ง่าย ทักษะ ความชำนาญ ของแรงงาน ประกอบกับกลไกตลาดที่ผิดที่เกิดจากการแทรกแซงสารพัดอย่าง ทำให้ผลตอบแทนที่แรงงานคนนึงควรได้ไม่เหมาะสม ไม่เท่าเทียม กับสิ่งที่คนคนนั้นพยายามทำสิ่งใดสิ่งนึงจนประสบความสำเร็จ
ทำให้เราตกผลึกได้ว่า ความยาก ความง่ายของการได้มาของ ทักษะ ความชำนาญ ของแต่ละคน หรือที่ทุกคนเรียกติดปากว่า proof of work มันสำคัญมากในระบบเศรษฐกิจที่ทำให้มนุษย์คนนึงรู้สึกภูมิใจในตัวเองว่าตัวเองนั้นประสบความสำเร็จ จากการที่เขาคนนั้นได้รับผลตอบแทนที่ได้คุ้มค่ากับแรง ความพยายามที่เขาศึกษา ปฏิบัติ ลองผิด ลองถูกมา
" ความฝันต้องเกิดหยาดเหงื่อจึงได้มา
ใช้เวลาและค่อยเป็นค่อยไป
ดอกไม้จึงบาน คำว่าพยายาม ไม่เคยทำร้ายสักคนที่ตั้งใจ
ความฝันเท่ากับหยาดเหงื่อรินรดไป
เพื่อให้เหล่าเมล็ดพันธุ์นั้นเติบโตและสูงใหญ่
และคงต้องมีสักวัน จะได้ดั่งใจสมปรารถนา "
Shonichi (วันแรก) - BNK48
#SiamSTR
Published at
2024-03-29 09:06:50Event JSON
{
"id": "a014930f6df1179bb171df10e82ce67a56ffff2d1b93dccc7fcb6a534691c006",
"pubkey": "f652bc31901c5366113193af9c148880a4a47c33ad85d1faffd45adf7d2c6308",
"created_at": 1711703210,
"kind": 1,
"tags": [
[
"t",
"SiamSTR"
]
],
"content": "\"การกำหนดขั้นต่ำนั่นแหละคือต้นเหตุของความไม่เท่าเทียมในสังคม\" \n\nโควทคำพูดประโยคนี้ เกิดขึ้นมาในหัวของเรา เมื่อเผอิญไปได้อ่านหนังสือ wealth of nation ของอดัม สมิทธ เล่ม 1 บท 1 ที่ว่าด้วยการแบ่งงานกันทำ เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้กำลังการผลิต , ทักษะ , ความชำนาญ , การตัดสินใจ ของแรงงานมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่แรงงาน หรือ มนุษย์แต่ละควรจะต้องมีทักษะซัก 1 อย่าง ทำไปเรื่อยๆ ให้ตัวเองเกิดความชำนาญ และจะมีการตัดสินใจที่ดี \n\nซึ่งถ้ามีครบตามนี้ ผลผลิต ผลผลิตที่ได้มามีคุณภาพดี ก็จะทำให้คนอื่นมาเห็นคุณค่า เช่น มาจ้างงาน มาซื้อสินค้า และให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับความยาก ง่าย กับสิ่งที่คนนั้นจะได้จากเรา \n\nทำให้เรามานั่งคิดว่าถ้ามันเป็นไปตามกลไกนี้ไม่มีตัวแปร หรือ ปัจจัย อื่นๆ เข้ามาแทรกแซงกลไกนี้ เช่นการมากำหนดค่าแรง ของรัฐ ที่มันเป็นแค่การแก้ปัญหาปลายเหตุที่เกิดจากทุกประเทศ ต้องการกระตุ้นการใช้จ่ายของประชาชนทุกรูปแบบ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ แต่ผลกระทบที่ตามมาคือการทำให้ประชาชน ใช้จ่ายเกินกว่ารายรับที่ตัวเองทำได้ และจำเป็นจะต้องก่อหนี้เพื่อให้ตัวเองดำรงชีพต่อไปได้ ซึ่งทำให้ประชาชนไม่มีเงินเก็บออม หารายได้มา ก็ใช้หมดไม่ว่ามาจากเหตุผลไดก็ตาม นี่แหละคือต้นเหตุที่ทำให้ประชาชนคนนึงไร้ทางเลือก \n\nทำให้ประชาชนจำเป็นต้องหารายได้มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อมาชำระหนี้ และดำรงชีพในสภาวะที่ปริมาณเงินล้นตลาด ที่เกิดจากการต้องการให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ \n\nที่สำคัญคือปริมาณประชาชนที่อยู่ในสภาวะที่ว่านี้ มีอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดปริมาณแรงงานที่ต้องการหางานใหม่ที่มีรายได้มากขึ้นเกินกว่า ปริมาณนายจ้าง จึงทำให้เกิดการกดราคาค่าแรงของแรงงานตามกลไกตลาด\n\nจึงทำให้รัฐหาทางแก้ไขเพื่อให้รายได้ประชาชนไม่น้อยเกินไปโดยการไปกำหนดค่าแรงขั้นต่ำโดยที่ ไม่ได้ดูความยาก ง่าย ทักษะ ความชำนาญ ของแรงงาน ประกอบกับกลไกตลาดที่ผิดที่เกิดจากการแทรกแซงสารพัดอย่าง ทำให้ผลตอบแทนที่แรงงานคนนึงควรได้ไม่เหมาะสม ไม่เท่าเทียม กับสิ่งที่คนคนนั้นพยายามทำสิ่งใดสิ่งนึงจนประสบความสำเร็จ \n\nทำให้เราตกผลึกได้ว่า ความยาก ความง่ายของการได้มาของ ทักษะ ความชำนาญ ของแต่ละคน หรือที่ทุกคนเรียกติดปากว่า proof of work มันสำคัญมากในระบบเศรษฐกิจที่ทำให้มนุษย์คนนึงรู้สึกภูมิใจในตัวเองว่าตัวเองนั้นประสบความสำเร็จ จากการที่เขาคนนั้นได้รับผลตอบแทนที่ได้คุ้มค่ากับแรง ความพยายามที่เขาศึกษา ปฏิบัติ ลองผิด ลองถูกมา \n\n\n\n\" ความฝันต้องเกิดหยาดเหงื่อจึงได้มา\nใช้เวลาและค่อยเป็นค่อยไป \n\nดอกไม้จึงบาน คำว่าพยายาม ไม่เคยทำร้ายสักคนที่ตั้งใจ \n\nความฝันเท่ากับหยาดเหงื่อรินรดไป\nเพื่อให้เหล่าเมล็ดพันธุ์นั้นเติบโตและสูงใหญ่\nและคงต้องมีสักวัน จะได้ดั่งใจสมปรารถนา \"\n\nShonichi (วันแรก) - BNK48\n\n#SiamSTR\n",
"sig": "20a1783dd31460311b968c8b86c4201e131cf822c133e1e746744c4526244c79fe895be0d4b856e45c23b8c54132e33b120a31647cf51079664e440148e714f1"
}